Chang Thai Motorbike Rental Phuket

วัดฉลอง หลวงพ่อแช่มช่วยด้วย ศรัทธาหนีร้อนพึ่งเย็น 2024

วัดฉลอง

วัดฉลอง  หากใครเดินทางไปเที่ยว “ภูเก็ต” อีกหนึ่งจังหวัดสวยของภาคใต้ เชื่อว่าหลายคนคงมีจุดมุ่งหมายในิารท่องเที่ยวที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการออกไปเที่ยวทะเลสวยๆ หรือพักผ่อนชิลๆ ที่โรงแรม บางคนก็ชอบแวะคาเฟ่ เดินเล่นย่านเมืองเก่า ส่วนสายบุญ ที่ภูเก็ตก็ยังมีหลายวัดให้ไปทำบุญกัน และหนึ่งในวัดดังของภูเก็ต ที่มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติแวะเวียนมาเสมอ ก็คือ หรือ “วัดไชยธาราม” วัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองภูเก็ต และเป็นศูนย์รวมจิตใจความศรัทธาของชาวภูเก็ต วัดแห่งนี้มีบรรยากาศที่คึกคักตลอดเวลา เพราะมีผู้คนจำนวนมากทั้งนักท่องเที่ยวชาวไทย และชาวต่างชาติ ต่างพากันมากราบขอพรหลวงพ่อแช่ม หลวงพ่อช่วง และหลวงพ่อเกลื้อม และหากเดินอ้อมองค์พระมาด้านหลังก็จะได้เห็นพิพิธภัณฑ์ของหลวงพ่อแช่ม เป็นห้องกระจกเล็กๆ ภายในมีรูปหล่อหลวงพ่อ  วัดฉลอง และมีข้าวของเครื่องใช้ของท่านจัดแสดงไว้

หรือสร้างขึ้นเมื่อต้นศตวรรษที่ 19 ชื่อจริงของมันคือวัดไชยธาราราม แต่คุณอาจไม่เห็นป้ายถนนใด ๆ (วัดฉลอง) เป็นวัดที่ใหญ่ที่สุดในภูเก็ตและมีผู้เข้าชมมากที่สุด ชาวบ้านและนักท่องเที่ยวชาวไทยจำนวนมากมาสวดมนต์และไหว้พระที่เคารพนับถือหลายคนซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งในหมู่พวกเขา หลวงพ่อแช่ม และ หลวงพ่อช่วง , พระสงฆ์ 2 รูปซึ่งนำประชาชน ของตำบลฉลองต่อสู้กับกบฏชาวจีนในปี 2419 และ ด้วยความรู้เรื่องยาสมุนไพรช่วยผู้บาดเจ็บ ตัวอาคารส่วนใหญ่ในบริเวณจะเป็นอาคารที่มีความสูง 60 เมตร มีเจดีย์ซึ่งเป็นที่เก็บเศษกระดูกของพระพุทธเจ้า ผนังและเพดานมีการตกแต่งด้วยภาพวาดที่สวยงามแสดงให้เห็นถึงชีวิตของพระพุทธเจ้า เช่นเดียวกับรูปปั้นที่มีคนบริจาคให้กับทางวัด เจดีย์ของถูกสร้างขึ้นอยู่บนชั้นที่ 3 ดังนั้นเมื่อขึ้นถึงด้านบนจะพบกับระเบียง ที่สามารถมองเห็นวิวทั่วไปและวิวของบริเวณวัดได้ทั้งหมด

และหลังจากนั้นคุณก็จะสามารถมองเห็น

ผลึกแก้วที่เป็นส่วนของกระดูกพระพุทธเจ้าได้ วัดฉลอง

การประพฤติตัวและการแต่งกาย เช่นเดียวกับวัดอื่นๆทั่วไป จะต้องมีการเข้มงวดในเรื่องของการแต่งกายที่จะต้องปฏิบัติตาม ไม่อนุญาตให้สวมใส่รองเท้าเข้าภายในบริเวณที่กำหนด ผู้หญิงจะต้องมีผ้าคลุมไหล่และสวมใส่กางเกงหรือกระโปรงที่ยาวลงไปถึงหัวเข่า ไม่พูดจาเสียงดังภายในวัด ไม่สัมผัสรูปปั้นหรือพระพุทธรูปต่างๆที่อยู่ในวัด คือทางเข้าฟรี และ ที่จอดรถฟรีสำหรับรถยนต์ และ รถจักรยานยนต์  วัดฉลอง เรื่องราวบารมีอันยิ่งใหญ่ของหลวงพ่อแช่ม คือประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งที่ชาวภูเก็ตไม่เคยลืมเลือน และทุกวันนี้ทั้งนักท่องเที่ยวและชาวภูเก็ตเอง ยังคงเดินทางไปสักการะรูปหล่อของท่าน รวมทั้งหลวงพ่อช่วง พระเกจิชื่อดังอีกรูปกันอยู่เสมอ ณ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าวัดไชยธารามแห่งนี้ เรื่องเล่าของความศักดิ์สิทธิ์ ความศักดิ์สิทธิ์รวมทั้งคุณงามความดีของหลวงพ่อแช่มนั้น เกิดขึ้นในครั้งสมัยที่มีการต่อสู้กับพวกคนจีนที่ก่อการกบฏ หรือเรียกกันว่า “อั้งยี่” ซึ่งหลวงพ่อแช่มได้ให้ความช่วยเหลือ

ที่พึ่งพิงแก่ชาวบ้าน และมอบผ้าประเจียดสีขาวเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการต่อสู้จนได้รับชัยชนะในที่สุด ต่อมาในภายหลัง ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เป็นพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนีอันเป็นที่เคารพศรัทธาของชาวภูเก็ตนับแต่นั้นมา และนอกจากหลวงพ่อแช่มแล้ว ยังมีหลวงพ่อช่วงและหลวงพ่อเกลื้อม ซึ่งมีชื่อเสียงทางด้านการปรุงสมุนไพรและรักษาโรค หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง  อันเป็นที่นับถือของผู้คนเสมอมา

แม้ว่าท่านเหล่านี้มรณภาพไปแล้ว แต่ศรัทธาของชาวภูเก็ตก็ยังไม่เคยเสื่อมคลาย นอกจากเรื่องราวศรัทธาแห่งหลวงพ่อแช่มแล้ว ภายในวัดยังมี พระมหาธาตุเจดีย์พระจอมไทยบารมี ซึ่งตามประวัติกล่าวว่า เจ้าอาวาสวัดสัมโพธิหาร ประเทศศรีลังกา ได้มอบพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเดิมเคยอยู่ในเจดีย์ของเมืองอนุราธปุระอันเป็นเมืองหลวงเดิมของศรีลังกาให้แก่วัดไชยธาราม และบรรจุอยู่ในพระะธาตุองค์นี้ให้ประชาชนทั่วไปได้สักการะ ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองฯ จังหวัดภูเก็ต

วัดไชยธาราราม หรือ ภูเก็ต เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดภูเก็ตมาช้านาน วัดไชยธาราราม  วัดฉลอง หรือตั้งอยู่ที่ตำบลฉลอง อำเภอเมืองภูเก็ต ไม่มีบันทึกแน่ชัดที่ว่าสร้างขึ้นเมื่อใด แต่มีชื่อปรากฏในบันทึกของรัชกาลที่ 3 และต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5 ) ทรงเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดไชยธาราราม” วัดไชยธารารามหรือเป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อของหลวงพ่อแช่มหรือพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุณี” Chang Thai  ซึ่งเป็นสมณะศักดิ์ที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) หลวงพ่อแช่มขณะยังมีชีวิตท่านเป็นที่พึ่งของชาวบ้านในการรักษาโรค

ภูเก็ตนับเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของใครหลาย ๆ คน เพราะประกอบไปด้วยภูมิทัศน์ของท้องทะเลไทยที่งดงาม มีธรรมชาติอันสวยงามและอุดมสมบูรณ์ แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์โบราณที่น่าสนใจ ประกอบไปด้วยสถาปัตยกรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนใคร และสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาอย่างหรือวัดไชยธาราราม

ถือเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของชาวภูเก็ตมาช้านาน ตั้งอยู่ที่ตำบลฉลอง

อำเภอเมืองภูเก็ต แต่กลับไม่ปรากฎหลักฐานที่ชัดเจนว่าสร้างขึ้นเมื่อใด แต่เริ่มมีหลักฐานการมีอยู่ของในสมัยรัชกาลที่ 3 แต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเป็นวัดไชยธารารามแทน เนื่องจากในขณะนั้นวัดมีหลวงพ่อแช่มหรือพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุณีเป็นเจ้าอาวาส ซึ่งท่านมีชื่อเสียงในเรื่องของการรักษาโรคให้กับชาวบ้าน ถือเป็นพระที่มีศาสตร์วิชาในด้านการปรุงยาสมุนไพรต่าง ๆ สามารถรักษาโรค วัดฉลอง ทำการเข้าเฝือกผู้ป่วยที่มีอาการกระดูกหัก

และนอกจากนี้ในยุคของท่านได้เกิดกลุ่มกบฎอั้งยี่ขึ้นหมายจะยึดครองเกาะภูเก็ต หลวงพ่อแช่มจึงได้รวบรวมชาวบ้านเข้าต่อสู้ โดยมอบผ้าประเจียดสีขาวให้ชาวบ้านใช้โพกหัวเอาไว้เพื่อเป็นการเรียกขวัญและกำลังใจ จนสามารถเข้าต่อสู้กับกบฎจนได้รับชัยชนะในที่สุด รัชกาลที่ 5 จึงประกาศสมณะศักดิ์ให้กับท่าน และพระราชทานนามให้วัดเพื่อเป็นสิริมงคล สิ่งสำคัญภายในมีอยู่หลายอย่าง ได้แก่ พระมหาธาตุเจดีย์ พระจอมไทยบารมีประกาศ เป็นมหาธาตุเจดีย์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ โดยห้องโถงชั้นล่าง ประดิษฐาน พระพุทธรูปปางต่างๆ ฝาผนังของพระธาตุเจดีย์ เป็นภาพเขียนแสดงพุทธประวัติของพระพุทธเจ้า ตอนประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพาน

ในยังมีหุ่นขี้ผึ้งจำลองของสามพระเกจิอาจารย์ ผู้เป็นที่เคารพศรัทธาของชาวภูเก็ต คือ หลวงพ่อแช่ม หลวงพ่อช่วง หลวงพ่อเกลี้อม ให้สาธุชนได้กราบสักการะ และมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ปรากฎทางด้านทิศตะวันออกของวัด ซึ่งจะมีพระพุทธรูปที่สร้างมานานแล้วประดิษฐานอยู่ภายในศาลาเก่าแก่ ชาวบ้านเรียกขานว่า “พ่อท่านเจ้าวัด” และจะมี “ตาขี้เหล็ก” ซึ่งเป็นรูปหล่อของชายแก่ๆผู้หนึ่ง ถือตะบันหมากอยู่ทางด้านซ้ายของพ่อท่านเจ้าวัด สำหรับด้านขวาจะมียักษ์ถือตะบองท่าทางเคร่งขรึมเรียกว่า “นนทรีย์”

สำหรับเสนาสนะต่างๆนั้นได้ถูกสร้างขึ้นอย่างเรียบง่าย เช่น กุฏิซึ่งสร้างเป็นทรงไทยโบราณ วัดฉลอง  โดยในแต่ละวันจะมีทั้งนักท่องเที่ยวและสาธุชนมาไหว้พระ ประกอบบุญกุศลอยู่อย่างต่อเนื่อง วัดไชยธาราราม ตั้งอยู่เลขที่ 70 บ้านฉลอง หมู่ที่ 6 ถนนเจ้าฟ้า  changthairentals ตำบลฉลอง อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต สังกัดมหานิกาย เป็นวัดแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดภูเก็ต เนื่องจากเป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อของหลวงพ่อแช่ม หรือ พระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี ปูชนียบุคคลที่ได้รับความเคาพรสักการะจากประชาชนทั่วไป ทั้งชาวไทยและชาวจีน ผู้นับถือพระพุทธศาสนา มานานกว่าร้อยปี ในฐานะวีรชนผู้ปกป้องบ้านเมืองเนื่องในการต่อต้านชาวจีนอั้งยี่ที่ก่อความวุ่นวายขึ้นในเมืองภูเก็ต วัด ฉลอง ภูเก็ต  เมื่อ พ.ศ.2419 และเป็นที่พึ่งทางกายและจิตใจของพุทธศาสนิกชนทั่วไป มีการบันทึกในเอกสารของชาวต่างประเทศว่า เมื่อปี พ.ศ.2310

ครั้งอยุธยาจวนจะเสียแก่พม่า มีเรือสินค้าชาวอังกฤษหนีภัย

สงครามมาจากเบงกอลแวะหลบพายุและหาเสบียงอาหารที่อ่าวฉลอง  เรือสำเภาอังกฤษลำนั้นได้เข้ามาตามลำน้ำบางใหญ่แต่ก็ได้ถูกชาวบ้านซึ่งประกอบด้วยมลายูและไทยทำร้ายนายเรือปล้นเอาสินค้าไปจนสิ้น บันทึกนี้นับได้ว่าเป็นการกล่าวถึงชุมชนเมืองโตยองเป็นครั้งแรกที่ปรากฎเป็นเอกสารในประวัติศาสตร์ เดิมนั้นวัดที่ตั้งอยู่ในชุมชนแห่งนี้มีอยู่วัดเดียวคือ “วัดโคกโตนด”  วัดฉลอง หรือวัดลัฎฐิวนาราม ต่อมาเมื่อเมืองถลางบางโรงเสียแก่พม่าในปี พ.ศ.2352 ก็มีชาวถลางส่วนหนึ่งอพยพหนีภัยสงครามเข้ามายังลำน้ำบางใหญ่ และตั้งเป็นชุมใหม่ขึ้นที่ริมลำน้ำ ได้มีการสร้างวัดขึ้นใหม่ในสมัยนั้นโดยพ่อท่านเฒ่าซึ่งได้รับอาราธนาให้มาเป็นมิ่งขวัญของผู้อพยพ วัดที่สร้างขึ้นใหม่นั้นมีชื่อว่า “วัดชาวถลาง” หรือ “วัดชาวฉลอง” ต่อมาจึงเรียกเพี้ยนไปเป็น

พระพุทธมิ่งมงคลเอกนาคคีรี

พระพุทธมิ่งมงคลเอกนาคคีรี หรือ พระใหญ่ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนยอดเขานาคเกิด ในเขตป่าสงวนแห่งชาติเขานากเกิด  ตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เป็นรูปปั้นที่มีความสูงเป็นอันดับที่ห้าของประเทศไทย พระมิ่งมงคลเอกนาคคีรี เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 25.45 เมตร สูง 45 เมตร สร้างด้วย คอนกรีตเสริมเหล็ก ผิวนอกบุด้วยหินอ่อนสีขาว พระพักตร์หันไปทางอ่าวฉลอง ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 19 องศา เป็นพระประธานของวัดกิตติสังฆาราม (วัดกะตะ) การก่อสร้างพระมิ่งมงคลเอกนาคคีรี ใช้งบประมาณ 30 ล้านบาท เริ่มต้นตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ด้วยเงินบริจาคของประชาชน โดยได้รับอนุญาตการจัดสร้างจากกรมป่าไม้ ปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนการประดับผิวองค์พระ

วัดพระทอง

วัดพระทองตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2328 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2523 มีพระพุทธรูปโบราณ มีลักษณะครึ่งองค์โผล่จากพื้น และมีอีกเรื่องเล่าว่า เมื่อคราวพระเจ้าปดุงมาตีเมืองถลางก็พยายามขุดพระไปด้วย แต่ไม่สามารถนำขึ้นได้เช่นกัน จึงสร้างพระครึ่งองค์ครอบไว้เรียกว่า พระผุด จนเมื่อพระธุดงค์มาปักกลดบริเวณนี้แล้วสร้างวัด โดยอัญเชิญพระผุดเป็นพระประธานในโบสถ์ กล่าวกันว่าพระผุดเป็นพระทองคำ จึงพอกปูนทับลงไปอีกครั้งดังที่เห็นในปัจจุบัน นามของวัดชาวบ้านเรียกแตกต่างกันไปว่า วัดนาใน บ้าง วัดพระผุด บ้าง หรือ วัดพระหล่อคอ ตามลักษณะพระพุทธรูป

วัดศรีสุนทร

วัดศรีสุนทร เดิมชื่อ วัดบ้านพอน สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2335 ด้านการศึกษา ทางวัดจัดให้มีการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมเริ่มมาตั้งแต่ พ.ศ. 2469 นอกจากนี้ยังจัดให้มีห้องสมุดบริการประชาชน หน่วยฌาปนกิจสงเคราะห์ และโรงเรียนวัดศรีสุนทร วัดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2531 อาคารเสนาสนะต่าง ๆ ได้แก่ อุโบสถกว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร แบบโบราณมีฝาผนังเต็มเพียงด้านหลังด้านเดียว อีกสามด้านมีเพียงครึ่งเดียว ศาลาการเปรียญกว้าง 16 เมตร ยาว 36 เมตรสร้างเมื่อ พ.ศ. 2519 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสองชั้น กุฏิสงฆ์ จำนวน 23 หลัง เป็นอาคารไม้และครึ่งตึกครึ่งไม้สองชั้น ปูชนียวัตถุมีพระประธานในอุโบสถ

In Wat Chalong, there are also wax models of three monks.

Those who are! respected! by Phuket people are Luang Pho Chaem, Luang Pho! Chuang, and Luang Pho Kliom. Let the congregation pay homage. And there are sacred things that appear on the east side of the temple. There will be a Buddha! image that! was! built! a long time! ago and is enshrined! inside the old pavilion.

The villagers called him “Father Than Chao Wat” and there will be “Ta Khilek” which is a statue of an old man. วัดฉลอง Holding a betel nut on the left side of the father of the temple. On the right side, there is a giant holding a cudgel in a solemn manner called “Nonsi”.

As for the various residences, they! were built simply, such! as the kuti which was built in the ancient Thai style. Each day there will be both tourists and laypeople coming to pay their respects.

Continue to make merit.

Chaithararam Temple Located at number 70 Ban Chalong, Village No. 6, Chaofa Road, Chalong Subdistrict, Mueang Phuket District. Phuket Province Belonging to the Maha Nikaya It is an important tourist attraction temple in Phuket Province.

This is because Wat Chalong houses a statue of Luang Por Chaem or Phrakhru Wisutthiwongsajarn Yannamuni.  Matriarch who! is revered! and worshiped by! the general public Both Thais! and Chinese Follower of Buddhism for more than a hundred years

As a hero who defended the country against the secretive Chinese who caused chaos in Phuket in 1876 and was a physical and mental refuge for Buddhists in general. It is! recorded in! documents of! foreigners that in the year 1767

At the time Ayutthaya was! about to be lost! to the Burmese.
วัดฉลอง

An English merchant ship escaping the war from Bengal stopped at Chalong Bay to escape the storm and find food. The English! junk had! entered the Bang Yai River! but was! attacked! by Malay! and Thai villagers who attacked the ship’s captain and robbed him of all the goods.

This record is! considered to be the first! documented mention! of the Toyong community in history. วัดฉลอง Previously, there was only one temple located in this community, “Wat Khok Tanod” or Wat Latthiwanaram.

Later, when the city of! Thalang Bang Rong! was! lost to the! Burmese! in 1809, some Thalang people migrated! to escape the dangers of war into the Bang Yai River. and established a new community on! the riverbank A new! temple was! built! in those days by! the old father! who! had been asked to be! a talisman! for! the immigrants. The newly built temple was! named “Wat Chao Thalang” or “Wat Chalong”. Later, the name was! changed to “Wat Chao Chalong”.

Scroll to Top